背俞穴 (bèi shū xuè) : 五脏六腑之气输注于腰背部的特定穴。
เป้ย์ซูเซฺวี่ย : จุดเป้ย์ซู จุดพิเศษอยู่บริเวณหลังและเอว
transport point : specific points where the visceral qi pours into back.
本经配穴法 (běn jīng pèi xuè fǎ) : 某一脏腑、经脉发生病变而没有涉及其到它脏腑时,就选取同属于病变经脉上的腧穴,配成处方进行治疗。
เปิ่นจิงเพ่ย์เซฺวี่ยฝ่า : วิธีการจับคู่จุดฝังเข็มบนเส้นลมปราณเดียวกัน โดยเลือกใช้จุดฝังเข็มบนเส้นลมปราณที่เป็นโรค มารวมเป็นตำรับในการรักษาโรคของเส้นลมปราณนั้น โดยที่โรคนั้นยังไม่ ได้ส่งผลกระทบต่ออวัยวะภายในหรือเส้นลมปราณอื่น
point combination of the same meridian : the point combination of selected acupoints from the diseased meridian to form the acupoint prescription for treatment while other zang-fu organs are not involved.
本经取穴 (běn jīng qǔ xuè) : 在疾病所属的经脉上选取腧穴。
เปิ่นจิงฉฺวี่เซฺวี่ย : การใช้จุดฝังเข็มบนเส้นลมปราณเดียวกัน เป็นการเลือกใช้จุดฝังเข็มบนเส้นลมปราณซึ่งได้รับผลกระทบจากโรค
point selection along involved meridian : a method that selects points from the involved meridians.
鼻衄 (bí nǜ) : 鼻中出血的表现。
ปี๋นิ่ว : เลือดกำเดาออก ภาวะที่มีเลือดออกในโพรงจมูก
epistaxis : a condition marked by nasal bleeding.
鼻渊 (bí yuān) : 久流浊涕,质稠、量多、气味腥臭的表现。
ปี๋ยฺเหวียน : โพรงจมูกอักเสบ อาการที่เป็นมานาน น้ำมูกมีลักษณะข้น มีปริมาณมาก มีกลิ่นแรง
rhinorrhea with turbid discharge : a condition marked by persistent excessive flow of turbid nasal discharge with a fishy smell.
砭石 (biān shí) : 中国古代用于治病的楔状石器。
เปียนสือ : เข็มหิน เครื่องหินทรงลิ่มที่ใช้สำหรับรักษาโรคของชาวจีนยุคโบราณ
stone needle : wedge shaped stoneware used to treat diseases in ancient China.
第7页